การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA)

Integrity and Transparency Assessment

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567

รายละเอียดตัวชี้วัดและข้อคำถามของแบบวัด OIT

ตัวชี้วัดที่ 9 การเปิดเผยข้อมูล เป็นตัวชี้วัดที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการเผยแพร่ข้อมูลที่เป็นปัจจุบันบนเว็บไซต์ของหน่วยงาน เพื่อเปิดเผยข้อมูลต่าง ๆ ของหน่วยงานให้สาธารณชนได้รับทราบใน 5ประเด็น คือ
(1) ข้อมูลพื้นฐาน ได้แก่ ข้อมูลพื้นฐาน การประชาสัมพันธ์ และการปฏิสัมพันธ์ข้อมูล

(2) การบริหารงานและการใช้จ่ายงบประมาณ ได้แก่ แผนการดำเนินงานและงบประมาณ การปฏิบัติงาน 4 และการให้บริการและการติดต่อประสานงาน
(3) การจัดซื้อจัดจ้าง ได้แก่ การจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ
(4) การบริหาร และพัฒนาทรัพยากรบุคคล ได้แก่ แผนการบริหารทรัพยากรบุคคล การดำเนินการตามแผนการบริหารทรัพยากรบุคคล และการขับเคลื่อน จริยธรรม
(5) การส่งเสริมความโปร่งใส ได้แก่ การจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ และการเปิดโอกาสให้เกิด การมีส่วนร่วม ซึ่งการเผยแพร่ข้อมูลในประเด็นข้างต้นแสดงถึงความโปร่งใสในการบริหารงานและการดำเนินงานของหน่วยงาน

ตัวชี้วัดที่ 9 การเปิดเผยข้อมูล ประกอบด้วย 5 ตัวชี้วัดย่อย ดังนี้

ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.1 ข้อมูลพื้นฐาน

ข้อมูลพื้นฐาน

การประชาสัมพันธ์

การปฏิสัมพันธ์ข้อมูล

ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.2 การบริหารงานและงบประมาณ

แผนการดำเนินงานและงบประมาณ

แสดงแผนการดำเนินงานตามการกิจ ของหน่วยงานที่มีระยะบากกว่า 1 ปี ที่มีรายละเอียดอย่างน้อยประกอบด้วย
(1)ยุทธศาสตร์หรือแนวทาง
(2)ป้าหมายของแต่ละยุทธศาสตร์ หรือแนวทาง
(3)ผิวชี้วัดของเป้าหมายตาม(2)เป็นแผนที่มีระยะเวลาบังคับใช้ ครอบคลุมปี พ.ศ. 2567

– แสดงแผนการดาเนินงานตามภารกิจ ของหน่วยงานประจําปี พ.ศ. 2567 ที่มีรายละเอียด อย่างน้อยประกอบด้วย
(1) โครงการหรือกิจกรรม
(2) ผลผลิตของแต่ละโครงการ หรือกิจกรรม
(3) งบประมาณที่ใช้แต่ละโครงการ หรือกิจกรรม
(4) ระยะเวลาในการดำาเนินงาน แต่ละโครงการหรือกิจกรรม
-แสดงผลความก้าวหน้าในการดำเนินงานตามแผนการดำเนินงานประจําปี พ.ศ. 2567 ข้อมูล ณ วันที่ 31 มีนาคม 2567 ที่มีเนื้อหาหรือรายละเอียด ความก้าวหน้า อย่างน้อยประกอบด้วย
(1) ผลการดำเนินงานของ แต่ละโครงการ/กิจกรรม
(2) ผลการใช้จ่ายงบประมาณที่ใช้ ถ้าเป็นงานแต่ละโครงการ /กิจกรรม

การปฏิบัติงาน

– แสดงคู่มือหรือแนวทางการปฏิบัติงาน ที่เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานใช้ยืดคือ ปฏิบัติให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน ที่มีรายละเอียดอย่างน้อยประกอบด้วย
(1) ชื่องาน
(2) วิธีการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
(3) ระยะเวลาการปฏิบัติงานแต่ละ ขั้นตอน
(4) กฎหมายที่เกี่ยวข้อ

        การให้บริการ หมายถึง การให้บริการตามอำนาจหน้าที่หรือภารกิจตามกฎหมายของหน่วยงาน สำหรับหน่วยงานที่มีการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ เป็นจำนวนมาก อาจมุ่งเน้นเผยแพร่การปฏิบัติงานหรือการให้บริการที่มีความสำคัญต่อภารกิจของหน่วยงาน

– แสดงข้อมูลสถิติการให้บริการตาม ภารกิจของหน่วยงาน ที่มีรายละเอียด ของแต่ละงาน อย่างน้อยประกอบด้วย
(1)จํานวนผู้รับบริการที่เข้ามารับบริการ ณ จุดให้บริการ (Walk-in)
(2)จํานวนผู้รับบริการผ่าน ช่องทาง E-Service
– เป็นข้อมูลสถิติของปี พ.ศ. 2560

-สอบถามข้อมูลออนไลน์ผ่านแอพพลิเคชั่นไลน์เบอร์ 0834625619 
-สอบถามรายละเอียดข้อมูลเพจคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ
-สอบถามข้อมูลผ่านเว็ปไซต์ www.nurse.sskru.ac.th

ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.3 การจัดซื้อจัดจ้าง

-แสดงรายการการจัดซื้อจัดจ้างฯของหน่วยงานในประเภทงบรายจ่าย หมวดงบลงทุนที่จะมีการดำาเนินการ ในปี พ.ศ. 2567 ทุกรายการมีรายละเอียดอย่างน้อยประกอบด้วย
(1) งานที่ชื่อหรือจ้าง
(2) วงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรร (บาท)
(3) แหล่งที่มาของงบประมาณ
(4) วิธีการที่จะดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างฯ
(5) ช่วงเวลาที่คาดว่าจะเริ่มดำาเนินการ

-แสดงความก้าวหน้าการจัดชื่อจัดจ้าง ของหน่วยงานที่มีการลงนามในสัญญาแล้ว ณ วันที่ 31 มีนาคม 2567 ที่มีรายละเอียด อย่างน้อยประกอบด้วย
(1) งานที่ชื่อหรือจ้าง
(2) วงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรร (บาท)
(3) แหล่งที่มาของงบประมาณ
(4) สถานะการจัดชื่อจัดจ้าง
(5) วิธีการจัดชื่อจัดจ้าง
(6) ราคากลาง (บาท)
(7) ราคาที่ตกลงซื้อหรือจ้าง (บาท)
(8) เลขประจําตัวผู้เสียภาษี/เลขประจําตัว ประชาชนของผู้ประกอบการที่ได้รับ การคัดเลือก
(9) รายชื่อผู้ประกอบการที่ได้รับ การคัดเลือก
(10) เลขที่โครงการ
(11) วันที่ลงนามในสัญญา
(12) วันสิ้นสุดสัญญา

-เป็นข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างฯ ในปี พ.ศ. 2567

– แสดงความก้าวหน้าการจัดชื่อจัดจ้าง ของหน่วยงานที่มีการลงนามในสัญญาแล้ว ณ วันที่ 31 มีนาคม 2567 ที่มีรายละเอียด อย่างน้อยประกอบด้วย
(1) งานที่ชื่อหรือจ้าง
(2) วงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรร (บาท)
(3) แหล่งที่มาของงบประมาณ
(4) สถานะการจัดชื่อจัดจ้างเ
(5) วิธีการจัดชื่อจัดจ้าง
(6) ราคากลาง (บาท)
(7) ราคาที่ตกลงซื้อหรือจ้าง (บาท)
(8)เลขประจําตัวผู้เสียภาษี/เลขประจําตัว ประชาชนของผู้ประกอบการที่ได้รับ การคัดเลือก
(9)รายชื่อผู้ประกอบการที่ได้รับ การคัดเลือก
(10)เลขที่โครงการ
(11) วันที่ลงนามในสัญญา
(12) วันสิ้นสุดสัญญา

– เป็นข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างในปี พ.ศ. 2567

-แสดงรายงานสรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างฯ ของหน่วยงานที่มีรายละเอียดอย่างน้อย ประกอบด้วย
(1)จํานวนรายการจัดซื้อจัดจ้างฯ จําแนกตามวิธีการจัดซื้อจัดจ้างฯ
(2)งบประมาณที่ใช้ในการจัดซื้อจัดจําจัดจ้าง จําแนกตามวิธีการจัดซื้อจัดจ้างฯ (บาท)
(3) ปัญหา อุปสรรค
(4) ขอเสนอแนะ

-แสดงผลการจัดชื่อจัดจ้างฯ ของหน่วยงาน ที่มีรายละเอียดอย่างน้อยประกอบด้วย
(1) งานที่ชื่อหรือข้าง
(2) วงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรร (บาท)
(3) แหล่งที่มาของงบประมาณ
(4) สถานะการจัดซื้อจัดจ้างฯ
(5) วิธีการจัดซื้อจัดจ้างฯ
(6) ราคากลาง (บาท)
(7) ราคาก็ตกลงชื่อหรือจ้าง (บาท)
(8)เลขประจำตัวผู้เสียภาษี/เลขประจําตัว ประชาชนของผู้ประกอบการที่ได้รับการคัดเลือก
(9) รายชื่อผู้ประกอบการที่ได้รับการคัดเลือก
(10) เลขที่โครงการ
(11) วันที่ลงนามในสัญญา
(12) วันสิ้นสุดสัญญา
-เป็นรายงานผลของปี พ.ศ. 2566

ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.4 การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล

-แสดงแผนการบริหารและพัฒนาทรัพยากร บุคคลที่มีรายละเอียดอย่างน้อยประกอบด้วย
(1) โครงการหรือกิจกรรม
(2)งบประมาณที่ใช้แต่ละโครงการหรือกิจกรรม
(3)ระยะเวลาในการดำเนินการ
แต่ละโครงการหรือกิจกรรม
-เป็นแผนฯ ที่มีความครอบคลุมทั้งด้านการบริหาร ทรัพยากรบุคคลและด้านการพับนกทรัพยากร บุคคล ซึ่งบังคับใช้ในปี พ.ศ. 2567

-แสดงผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากบุคคลที่มีรายละเอียดอย่างน้อยประกอบด้วย
(1) โครงการหรือกิจกรรม
(2) ผลการดำาเนินการของแต่ละโครงการ/กิจกรรม
(3) งบประมาณที่ได้รับจัดสรรและผล การใช้จ่ายงบประมาณที่ใช้ดำเนินการแต่ละโครงการ/กิจกรรม
(4)ระยะเวลาในการดำเนินการ(ระบุเป็นวัน เดือน ปีที่เริ่ม และสิ้นสุดการดำเนินการ
(5)ข้อมูลสถิติอัตรากำลังจําแนกตาม ประเภทตำแหน่ง
(6)ข้อมูลสถิติจ่านวนผู้เข้ารับการฝึกอบรม หรือพัฒนาทรัพยากรบุคคล
(7) ปัญหา อุปสรรค
(8) ข้อเสนอแนะ
-เป็นรายงานผลของปี พ.ศ. 2566

-แสดงประมวลจริยธรรมสาหรับเจ้าหน้าที่ ของรัฐ

-แสดงผลการเสริมสร้างมาตรฐานทางจริยะรรม ให้แก่เจ้าหน้าที่ของหน่วยงาน ที่มีรายละเอียด อย่างน้อยประกอบด้วย
(1)การจัดตั้งทีมให้ค่าปรึกษาตอบคำถาม ทางจริยะรรมหรือคณะทํางาน ขับเคลื่อนเรื่องจริยธรรม โดยให้ แสดงเป็น คำสั่งแต่งตั้งที่เป็นทางการ
(2) แนวปฏิบัติ Dos & Don’tsเพื่อลดความสับสนเกี่ยวกับพฤติกรรมสีเทาและเป็นแนวทางในการประพฤติตน ทางจริยะรรม ที่จัดทําขึ้นโดยหน่วยงาน
(3) การฝึกอบรมที่มีการสอดแทรกสาระ ด้านจริยะรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ในหลักสูตร หรือกิจกรรมเสริมสร้าง/ ส่งเสริมจริยธรรมที่ดำาเนินการ โดยหน่วยงาน ในปี พ.ศ. 2567

ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.5 การส่งเสริมความโปร่งใส

การจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ

-แสดงคู่มือหรือแนวทางการดำาเนินการต่อเรื่อง ร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ ของเจ้าหน้าที่ของหน่วยงาน ที่มีรายละเอียด อย่างน้อยประกอบด้วย
(1)รายละเอียดของข้อมูลที่ผู้ร้องควรรู้เพื่อใช้ในการร้องเรียน เช่น ชื่อ-สกุลของ ผู้ถูกร้อง ช่วงเวลาการกระทําความผิด พฤติการณ์การทุจริตและประพฤติมิชอบ
(2) ช่องทางแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริต และประพฤติมิชอบ
(3)ขั้นตอนหรือวิธีการในการจัดการ เรื่องร้องเรียนการทุจริต และประพฤติมิชอบ
(4) ส่วนงานที่รับผิดชอบ
(5) ระยะเวลาดำเนินการ

-แสดงช่องทางออนไลน์ที่บุคคลภายนอกสามารถ แจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติชอบ ของเจ้าหน้าที่ของหน่วยงาน โดยต้องแยก ต่างหากจากช่องทางการร้องเรียนทั่วไป
-เป็นช่องทางที่มีการคุ้มครองข้อมูล ของผู้แจ้งเบาะแส
-สามารถเข้าถึงหรือเชื่อมโยงไปยังช่องทาง ข้างต้นได้จากเว็บไซต์หลักของหน่วยงาน

-แสดงข้อมูลสถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานก็มีรายละเอียดอย่างน้อยประกอบด้วย
(1) จํานวนเรื่องร้องเรียนทั้งหมด
(2) จํานวนเรื่องที่ดำเนินการแล้วเสร็จ
(3) จํานวนเรื่องที่อยู่ระหว่างดำเนินการ
(เป็นข้อมูลของปี พ.ศ. 2566)

การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม

          ตัวชี้วัดที่10  เป็นตัวชี้วัดที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการเผยแพร่ข้อมูลที่เป็นปัจจุบันบนเว็บไซต์ ของหน่วยงาน เพื่อเปิดเผยการดำเนินการต่าง ๆ ของหน่วยงานให้สาธารณชนได้รับทราบ ใน 2 ประเด็น คือ
(1) การดำเนินการเพื่อ ป้องกันการทุจริตในประเด็นสินบน ได้แก่ นโยบาย No Gift Policy และการประเมินความเสียงเพื่อการป้องกันการทุจริต
(2) การส่งเสริม คุณธรรมและความโปร่งไส ได้แก่ แผนป้องกันการทุจริตและมาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน ซึ่งการเผยแพร่ ข้อมูลในประเด็นข้างต้นแสดงถึงการให้ความสำคัญต่อผลการประเมินเพื่อนำไปสู่การจัดทำมาตรการส่งเสริมความโปร่งใสภายใน หน่วยงาน และมีการกำกับติดตามการนำไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม

ตัวชี้วัดที่ 10 การป้องกันการทุจริต ประกอบด้วย 2 ตัวชี้วัดย่อย ดังนี้

ตัวชี้วัดย่อยที่ 10.1 การดำาเนินการเพื่อป้องกันการทุจริตในประเด็นสินบน

นโยบาย No Gift Policy

-แสดงรายงานการรับของขวัญและของท่านตามนโยบาย No Gift Policy จากการปฏิบัติหน้าที่สาหรับหน่วยงาน
-เป็นรายงานผลในภาพรวมของหน่วยงานในปี พ.ศ. 2566

-แสดงรายงานการรับทรัพย์สินหรือประโยชน์จีนใดโดยรรรมจรรยาสําหรับหน่วยงานตามมาตรา 128 แห่งพระราชบัญญัติประกอบ รัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต พ.ศ. 2561
-เป็นรายงานผลในภาพรวมของหน่วยงาน ในปี พ.ศ. 2566

การประเมินความเสี่ยงเพื่อป้องกันการทุจริต

แสดงผลการประเมินความเสี่ยงการทุจริต ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสินบนของการดำเนิน งานหรือการปฏิบัติหน้าที่ ตามภารกิจของหน่วย งาน อย่างน้อยประกอบด้วยประเด็นดังต่อไปนี้
(1) การอนุมัติ อนุญาตามพระราชบัญญัติ การอ่านวยความสะดวก ในการพิจารณาอนุญาต ของทางราชการพ.ศ. 2558
(2) การใช้อำนาจตามกฎหมาย/ การให้บริการตามภารกิจ
(3) การจัดซื้อจัดจ้าง
(4) การบริหารงานบุคคล
-ในการประเมินความเสียงการทุจริต แต่ละประเด็น ต้องมีรายละเอียด อย่างน้อยประกอบด้วย
(1) เหตุการณ์ความเสียงและระดับ ของความเสี่ยง
(2) มาตรการในการบริหารจัดการ ความเสียง
-เป็นการดำเนินการในปี พ.ศ. 2567

-แสดงผลการประเมินความเสียงและผล การดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริต และประพฤติมิชอบประจําปี พ.ศ. 2566 ที่มีรายละเอียดอย่างน้อยประกอบด้วย
(1) เหตุการณ์ความเสี่ยงและระดับ ของความเสียง
(2) มาตรการในการบริหารจัดการ ความเสี่ยง
(3)ผลการด่าเนินการตามมาตรการหรือ การดำเนินการเพื่อบริหารจัดการ ความเสียง

ตัวชี้วัดย่อย 10.2 การส่งเสริมคุณกรรมและความโปร่งใส

แผนป้องกันการทุจริต

-แสดงแผนปฏิบัติการที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อป้องกันการทุจริตหรือส่งเสริมมาตรฐาน จริยธรรมหรือธรรมาภิบาลที่จัดทําโดย หน่วยงานที่มีรายละเอียดอย่างน้อย ประกอบด้วย
(1) โครงการ/กิจกรรม
(2) งบประมาณแต่ละโครงการ/กิจกรรม
(3)ระยะเวลาดำเนินการแต่ละโครงการ/ กิจกรรม
-เป็นแผนที่มีระยะเวลาบังคับใช้ครอบคลุมปี พ.ศ. 2567

-แสดงผลการดำาเนินการที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อป้องกันการทุจริตหรือส่งเสริมมาตรฐาน จริยธรรม หรือธรรมาภิบาล ที่มีรายละเอียด อย่างน้อยประกอบด้วย
(1) ผลดำเนินการแต่ละโครงการ/กิจกรรม
(2)รายละเอียดงบประมาณที่ใช้ดำเนินการ แต่ละโครงการ/กิจกรรม
(3) ปัญหา อุปสรรค
(4) ข้อเสนอแนะ:
-เป็นรายงานผลของปี พ.ศ. 2566

แสดงการวิเคราะห์ผลการประเมินคุณรรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงาน ภาครัฐ ในปี พ.ศ. 2566″ ที่มีรายละเอียด อย่างน้อยประกอบด้วยประเด็น ดังต่อไปนี้
(1)กระบวนการปฏิบัติงานที่โปร่งใส และมีประสิทธิภาพ
(2) การให้บริการและระบบ E-Service
(3)ช่องทางและรูปแบบการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารภาครัฐ
(4)กระบวนการกำกับดูแลการใช้ทรัพย์สิน ของราชการ
(5) กระบวนการสร้างความโปร่งใส ในการใช้งบประมาณและการจัดซื้อจัดจ้าง
(6)กระบวนการควบคุม ตรวจสอบ การใช้อำนาจและการบริหารงานบุคคล
(7)กลไกและมาตรการในการแก้ไขและป้องกันการทุจริตภายในหน่วยงาน
-แสดงการกาหนดวิธีการทําผลการวิเคราะห์ แต่ละประเด็นไปสู่การปฏิบัติ” ที่มีรายละเอียด อย่างน้อยประกอบด้วย
(1) วิธีการน่าผลการวิเคราะห์ไปสู่การปฏิบัติ
(2)การกำหนดผู้รับผิดชอบหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง
(3) การกำหนดขั้นตอนหรือวิธีการปฏิบัติ
(4) ระยะเวลา
-แสดงการวิเคราะห์ข้อจํากัดของหน่วยงาน ในการดำเนินการประเมินคุณรรรม และความโปร่งใสในการดำาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ

-แสดงผลการดำเนินการเพื่อส่งเสริมคุณรรรม และความโปร่งใสภายในหน่วยงานตาม มาตรการส่งเสริมคุณรรรมและความโปร่งใส ภายในหน่วยงาน” ที่มีรายละเอียดอย่างน้อย ประกอบด้วย
(1) มาตรการหรือกิจกรรมที่ดำาเนินการ เพื่อส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใส ภายในหน่วยงาน
(2) สรุปผลการดำาเนินการตามมาตรการ หรือกิจกรรม
(3) ผลลัพธ์หรือความสําเร็จ ของการดำาเนินการ
-เป็นการดำาเนินการในปี พ.ศ. 2566

WordPress Appliance - Powered by TurnKey Linux